วันพุธที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ

นางสาวอรวรรณ สุนทรชัย ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เขตตรวจราชการ ๑๑ และ ๑๓
กำหนดเดินทางมาตรวจราชการ ในวันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๑.๓๐ น. ณ ห้องประชุมสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต ๒ โดยมีเป้าหมายการตรวจราชการแบบบูรณาการเพื่อมุ่งผลสัมฤทธิ์ตามนโยบายรัฐบาล ประจำปีงบประมาณ ๒๕๕๑ งวดที่ ๒ ติดตามความก้าวหน้า (Progress Review) ดังนี้
๑. โครงการคุณธรรมนำความรู้
๒. โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก

ขอเรียนเชิญ ผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กเข้าร่วมรับและเสนอข้อมูลการดำเนินงาน ดังนี้
๑. ชมรมผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านประธานจำลอง รัตนโกเศศ ท่านประสิทธิ์ จันทร์ไทยเลขานุการ และกรรมการท่านอื่นที่สะดวก
๒. การนำเสนอผลงานของโรงเรียนเป้าหมาย คือ โรงเรียนบ้านนาเลา บ้านโคกหนองกุง บ้านดงม่วงไข บ้านสร้างขุ่ย แนวทางการนำเสนอคือ
๒.๑ แผนพัฒนาคุณภาพของโรงเรียน
๒.๒ รูปแบบการจัดการเรียนรการสอนของโรงเรียน
๒.๓ การได้รับการสนับสนุนของโรงเรียน
๒.๔ ภาพและระดับความพึงพอใจของชุมชน
๒.๕ ระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๐

โปรดพร้อมกันที่หมายเวลา ๐๘.๓๐ ด้วยจักขอบคุณยิ่ง

วิบูลย์

วันอังคารที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

การนำการเปลี่ยนแปลงสู่คุณภาพห้องเรียน (Quality Classroom)

นโยบาย สพฐ. (แก้ไขแล้ว)
การนำการเปลี่ยนแปลงสู่คุณภาพห้องเรียน (Quality Classroom)
1. วัตถุประสงค์

1.1 ครูสามารถพัฒนาตนเอง ด้านการออกแบบ และจัดการการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 ครูสามารถนำการเปลี่ยนแปลงได้
2. เป้าหมาย
2.1 ครูทุกคนได้รับการพัฒนาเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง
2.2 ครูมีแผนพัฒนาตนเองและสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างน้อยกลุ่มสาระละ 1 ชิ้นงาน ในระยะเวลา 1 ภาคเรียน ปีการศึกษา 2551
3. เนื้อหาสาระในการพัฒนาครู
3.1 การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
3.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
3.3 การวิจัยในชั้นเรียน (CAR)
3.4 การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน
3.5 การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline)

4. สาระการเรียนรู้
4.1 แนวคิดในการเปลี่ยนแปลง
4.2 การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
4.3 การจัดการห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพ
4.4. ห้องเรียนที่มีคุณภาพ

5. KPI ห้องเรียนคุณภาพ
5.1 การนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
5.1.1 ความรู้
5.1.1.1 แนวคิดในการเปลี่ยนแปลง
5.1.1.2 การจัดการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลง
5.1.1.3 การจัดห้องเรียนที่มีประสิทธิภาพห้องเรียนคุณภาพ

5.1.2 ผลปฏิบัติงาน
5.1.2.1 แผนพัฒนาตนเอง
5.1.2.2 ผลงานเชิงสร้างสรรค์

5.1.3 ตัวชี้วัด
5.1.3.1 มีความตื่นตัวในทางสร้างสรรค์ ทุ่มเทกี่ทำงานอย่างสุดชีวิตจิตใจ
5.1.3.2 มีแผนการพัฒนาตนเอง ร่วมมือกันทำงาน และมีผลงานอย่างสร้างสรรค์


5.2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
5.2.1 ความรู้
5.2.1.1 การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
5.2.1.2 รูปแบบ Back ward Design

5.2.1.3 ผู้บริหารนิเทศ Coach การจัดกิจกรรมเรียนรู้
5.2.1.4 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
5.2.1.5 รายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ

5.2.2 ผลปฏิบัติงาน
5.2.2.1 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
5.2.2.2 รายงานผลการพัฒนาผู้เรียนด้วยระดับคุณภาพ

5.2.3 ตัวชี้วัด
5.2.3.1 นักเรียนมีผลงาน, ชิ้นงาน ที่สะท้อนคุณภาพการคิดระดับสูง

5.3 การวิจัยในชั้นเรียน (CAR)
5.3.1 ความรู้
5.3.1.1 การจัดทำ ID Plan
5.3.1.2 การวิจัยในชั้นเรียน

5.3.2 ผลปฏิบัติงาน
5.3.2.1 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง
5.3.2.2 รายงานการพัฒนาตนเองและนักเรียน

5.3.3 ตัวชี้วัด
5.3.3.1 ใช้ CAR พัฒนาตนเองและนักเรียน
5.3.3.2 มีเพื่อนสะท้อนความคิด

5.4 การใช้ ICT เพื่อการสอนและสนับสนุนการสอน
5.4.1 ความรู้
5.4.1.1 การใช้ ICT เพื่อการพัฒนาการเรียน
5.4.2 ผลปฏิบัติงาน
5.4.2.1 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใช้หรือทำสื่อ ICT
5.4.2.2 มี e-mail และเผยแพร่ผลงานทางเว็บไซต์
5.4.3 ตัวชี้วัด
5.4.3.1 มีแผนการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่มีการใช้ ICT หรือการบูรณาการสาระวิชาต่าง ๆ อย่างหลากหลาย

5.5 การสร้างวินัยเชิงบวก (Positive Discipline)
5.5.1 ความรู้
5.5.1.1 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการสร้างวินัยเชิงบวก

5.5.2 ผลปฏิบัติงาน
5.5.2.1 จัดการพัฒนานักเรียนในชั้นอย่างเป็นระบบ

5.5.3 ตัวชี้วัด
5.5.3.1 ครูมีพฤติกรรมเชิงบวก จัดระบบการพัฒนานักเรียน อย่างเป็นระบบ เป็นองค์รวม ทั้งร่างกายสติปัญญา สังคม และอารมณ์

6. การประชุมปฏิบัติการวางแผน
6.1 เป้าหมายการพัฒนาครูในจังหวัด โดยพาทำ
6.2 ข้อเสนอแนะ, แนวคิดในการทำแผน
6.2.1 Base line ของแต่ละโรงเรียน
6.2.1.1 ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน
6.2.2.2 NT, PISSA, การประเมินผลของ สมศ.
6.2.2.3 ประเภทโรงเรียน
6.2.2.4 จำนวนนักเรียน, ครู


6.2.2 การวิเคราะห์บริบท และสภาพปัจจุบันของโรงเรียน
6.2.3 สาระเนื้อหาหลักสูตร หาแนวทางพัฒนาต่อยอด

6.3 การนำเสนอ (ในกิจกรรม) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้